Protective Effects of Carvedilol Against Anthracycline-Induced Cardiomyopathy
Nihat KalayEmrullah Başarİbrahіm ÖzdoğruÖzlem ErYakup ÇetinkayaAli DoğanAbdurrahman OğuzhanNamık Kemal EryolRamazan TopsakalAli ErginTuğrul İnanç
692
Citation
34
Reference
10
Related Paper
Citation Trend
Keywords:
Carvedilol
Carvedilol
Cite
Citations (0)
Carvedilol
Cite
Citations (0)
Carvedilol
Cite
Citations (1)
Carvedilol
Cite
Citations (2)
Carvedilol
Cite
Citations (42)
Objectives To explore the effects of Simvastatin on anti-oxidation and hypercholesterolemia in rat.Metheds The rats were randomly divided into 3 groups: control group,hypercholesterolemia group and Simvastatin(5mg/kg)group.Control group was administrated with full diet,other two groups were given high cholesterol food,Simvastatin group was administrated intragastrically Simvastatin 5mg/kg simultaneously.The levels of cholesterol and anti-oxidation in plasma were detected after six weeks.Results The plasma HDL,SOD level and total anti-oxidation ability significantly increased 50%,61.12 % and 420.81%(P0.01),while,the TC and MDA level decreased 11% and 10.51%(P0.05) in Simvastatin group than those in hypercholesterolemia group in rat.Conclusions Simvastatin not only decreases cholesterol concentration,but also increases the effects of antioxidation in plasma in hypercholesterolemia rat.
Cite
Citations (0)
Carvedilol
Cite
Citations (0)
Carvedilol
Cite
Citations (0)
Carvedilol
Cite
Citations (0)
ส้มโอ (Citrus grandis�L. Osbeck) เป็นผลไม้ประเภท citrus ด้วยความคล้ายคลึงกันทางพฤกษศาสตร์กับเกรปฟรุต (Citrus paradisi) ที่มีรายงานว่าก่อให้เกิดการรบกวนเภสัชจลนศาสตร์ของยาหลายชนิดรวมถึงยา simvastatin ที่ใช้รักษาโรคภาวะไขมันในเลือดสูงแต่มีผลข้างเคียงที่เป็นอันตรายได้โดยเฉพาะต่อกล้ามเนื้อ งานวิจัยนี้จึงศึกษาผลของน้ำส้มโอต่อเภสัชจลนศาสตร์ของยา simvastatin และผลต่อการทำงานของเอนไซม์ไซโทโครมพี3a2 (CYP3a2) และการแสดงออกของเอ็มอาร์เอ็นเอ�Mdr1a,��Mdr1b�และ�Slc21a5�ในหนูแรทเพศผู้ โดยแบ่งหนูแรทออกเป็น 4 กลุ่มคือ กลุ่มควบคุม กลุ่มที่ได้รับน้ำส้มโอ (2ml/kg) เท่านั้นวันละ 2 ครั้งเป็นเวลา 7 วัน กลุ่มที่ได้รับยา simvastatin เท่านั้น (ขนาดยา 20 mg/kg) �และกลุ่มที่ได้น้ำส้มโอ (2ml/kg) วันละ 2 ครั้งเป็นเวลา 7 วันร่วมกับยา simvastatin (20mg/kg) �โดยทำการเก็บตัวอย่างเลือดในหนูกลุ่มที่ได้ยา simvastatin เป็นเวลาทั้งหมด 12 ชั่วโมงเพื่อวัดระดับ simvastatin และ simvastatin acid ด้วยเทคนิค LC-MS/MS และศึกษาการแสดงออกของเอ็มอาร์เอ็นเอ�Mdr1a,�Mdr1b�และ�Slc21a5�ในเซลล์ตับและลำไส้เล็กของหนูแรทด้วยเทคนิค real-time polymerase chain reaction (RT-PCR) รวมถึงศึกษาการทำงานของเอนไซม์ไซโทโครมพี3เอ2 ด้วยเทคนิค HPLC ผลการทดลองพบว่าหนูกลุ่มที่ได้รับน้ำส้มโอร่วมกับยา simvastatin มีค่า AUC0-?�ของ simvastatin เพิ่มขึ้นเป็น 4�เท่า (p<0.01) และ simvastatin acid เป็น 3�เท่า (p<0.01) เมื่อเทียบกับหนูกลุ่มที่ได้รับยา simvastatin อย่างเดียว�ค่าความเข้มข้นสูงสุดเฉลี่ยของยา (Cmax) เพิ่มขึ้น 3.9 เท่า (p<0.01) และ simvastatin acid เพิ่ม 3.6 เท่า (p<0.01) เมื่อเทียบกับหนูกลุ่มที่ได้รับยา simvastatin อย่างเดียว ส่วนค่า Kel, t1/2 และ Tmax�ไม่แตกต่างกันในทั้งสองกลุ่ม�พบการแสดงออกของเอ็มอาร์เอ็นเอ�Mdr1a�ในเซลล์ลำไส้เล็กในกลุ่มที่ได้รับน้ำส้มโอเท่านั้นและกลุ่มที่ได้รับน้ำส้มโอร่วมกับยา simvastatin ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 79.8% (p<0.01) และ 84.3% (p<0.01) ตามลำดับเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม เช่นเดียวกับการแสดงออกของเอ็มอาร์เอ็นเอ�Mdr1b�ในลำไส้ของหนูทั้งสองกลุ่มลดลง 52.6% (p<0.05) และ 56.9% (p<0.05) ตามลำดับ ส่วนกลุ่มที่ได้รับยา simvastatin เท่านั้นมีการแสดงออกของเอ็มอาร์เอ็นเอ�Mdr1a�และ�Mdr1b�ในเซลล์ลำไส้เล็กไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญจากกลุ่มควบคุม ขณะที่การแสดงออกของเอ็มอาร์เอ็นเอ�Slc21a5�ในลำไส้เล็กของหนูทุกกลุ่มไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ในเซลล์ตับของหนูแรทกลุ่มที่ได้รับน้ำส้มโอเท่านั้นและกลุ่มที่ได้รับน้ำส้มโอร่วมกับยา simvastatin พบว่ามีการแสดงออกของเอ็มอาร์เอ็นเอ�Slc21a5�ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม แต่กลุ่มที่ได้รับยา simvastatin อย่างเดียวไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม �ในขณะที่การแสดงออกของเอ็มอาร์เอ็ เอ�Mdr1a�และ�Mdr1b�ในเซลล์ตับของหนูแรททุกกลุ่มไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ผลการศึกษาการทำงานของเอนไซม์ไซโทโครมพี3เอ2�พบว่าหนูกลุ่มที่ได้รับน้ำส้มโอเท่านั้น และกลุ่มที่ได้รับน้ำส้มโอร่วมกับยา simvastatin มีการทำงานของเอนไซม์ไซโทโครมพี3เอ2�ลดลงถึง 51.77% (p<0.01) และ 49.17% (p<0.01) ตามลำดับ แต่ในหนูที่ได้รับยา simvastatin เท่านั้นไม่แตกต่างจากกลุ่มควบคุม
โดยสรุปน้ำส้มโอมีผลต่อการเพิ่มระดับยา simvastatin และ simvastatin acid ในพลาสมาของหนูแรท และมีผลลดการแสดงออกของเอ็มอาร์เอ็นเอ�Slc21a5�ในตับและลดการแสดงออกของเอ็มอาร์เอ็นเอ�Mdr1a�และ�Mdr1b�ในลำไส้เล็กของหนูแรท รวมถึงมีผลยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ไซโทโครมพี3เอ2 ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นความเสี่ยงของการเกิดอันตรกิริยาระหว่างน้ำส้มโอกับยา simvastatin
Cite
Citations (0)